Page 42 - คู่มือการดำเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
P. 42
เทคนิคบันได ๖ ขั้นสู่ควำมส�ำเร็จในกำรอ่ำนจับใจควำมส�ำคัญ
เสกสันต์ ผลวัฒนะ
สำขำวิชำภำษำไทย คณะศิลปศำสตร์
มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์
กำรจับใจควำมส�ำคัญเป็นทักษะพื้นฐำนที่ผู้เรียนจ�ำเป็นต้องมี เพื่อที่จะสำมำรถรับสำรผ่ำนกำรอ่ำน
หรือกำรฟังได้อย่ำงรวดเร็วและถูกต้องตรงประเด็น นอกจำกนี้กำรจับใจควำมส�ำคัญได้อย่ำงแม่นย�ำยังช่วยให้
ผู้รับสำรสำมำรถใช้ทักษะทำงภำษำขั้นสูงยิ่งขึ้น กล่ำวคือ สำมำรถน�ำใจควำมส�ำคัญจำกสิ่งที่ได้อ่ำนหรือสิ่งที่ได้ฟัง
มำวิเครำะห์ ตีควำม ประเมินค่ำ และน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้ กำรจับใจควำมส�ำคัญจึงเป็นสิ่งส�ำคัญที่ผู้เรียน
ควรศึกษำและหมั่นฝึกฝนให้เกิดควำมช�ำนำญเพื่อประโยชน์ในกำรศึกษำและกำรท�ำงำนอื่น ๆ ต่อไป
๑. ลักษณะของข้อควำมในแต่ละย่อหน้ำ
ธรรมชำติของกำรเขียนนั้น กำรน�ำเสนอควำมคิดหรือควำมรู้ในงำนเขียนมักปรำกฏในรูปแบบ
ย่อหน้ำ หลำยย่อหน้ำที่มีเนื้อควำมต่อเนื่องกัน ผู้เรียนจึงควรทรำบก่อนว่ำ ในหนึ่งย่อหน้ำนั้นมีองค์ประกอบ
ลักษณะใดบ้ำง เพื่อจะช่วยให้ค้นหำใจควำมส�ำคัญของแต่ละย่อหน้ำได้ง่ำยขึ้น
ในย่อหน้ำหนึ่งนั้นจะมีลักษณะข้อควำมที่แตกต่ำงกัน อำจแบ่งออกเป็น ๒ ลักษณะใหญ่ ๆ
คือ ใจควำมส�ำคัญและส่วนขยำยใจควำมส�ำคัญ
๑.๑ ใจความส�าคัญหรือความคิดหลัก (main idea) คือ ข้อควำมที่เป็นแก่นของเนื้อหำที่มีสำระ
ครอบคลุมเนื้อควำมอื่น ๆ ในย่อหน้ำหรือในเรื่องนั้น ๆ ใจควำมส�ำคัญนี้อำจปรำกฏเป็นประโยค เรียกว่ำ
ประโยคใจควำมส�ำคัญ สำมำรถเห็นได้ชัดเจนที่ต้นย่อหน้ำ หรือท้ำยย่อหน้ำ หรือกลำงย่อหน้ำ หรือปรำกฏ
ที่ต้นและท้ำยย่อหน้ำ หรืออำจไม่ปรำกฏประโยคใจควำมส�ำคัญให้เห็นชัดเจนแต่แฝงอยู่ในเนื้อควำม
๑.๒ ส่วนขยายใจความส�าคัญหรือพลความ อำจแบ่งได้เป็น ๒ ประเภท คือ
๑.๒.๑ ใจความรองหรือความคิดรอง (major supporting details) คือ ข้อควำม
ที่เป็นส่วนขยำยหรือสนับสนุนใจควำมส�ำคัญเพื่อให้เกิดควำมกระจ่ำง ท�ำให้เกิดควำมสมเหตุสมผล ท�ำให้ใจควำมส�ำคัญ
ชัดเจนขึ้น
๑.๒.๒ รายละเอียด (minor supporting details) คือ ข้อควำมที่เป็นส่วนขยำยใจควำมรอง
หรือใจควำมส�ำคัญให้ชัดเจนยิ่งขึ้น รำยละเอียดนั้นอำจเป็นกำรยกตัวอย่ำง กำรเปรียบเทียบ สถิติตัวเลข
กำรอ้ำงอิงค�ำกล่ำวของบุคคล และรำยละเอียดอื่น ๆ ที่เสริมควำมเข้ำมำ
ตัวอย่าง
(๑) คนไทยมีควำมเชื่อว่ำคนเรำจะฝันได้ด้วยสำเหตุใหญ่ ๔ ประกำร (๒) สำเหตุฝันประกำรแรก
คือ บุพนิมิต (๓) หมำยถึง ฝันที่เชื่อกันว่ำเป็นลำงบอกเหตุที่จะเกิดต่อไปข้ำงหน้ำแก่ตัวผู้ฝันเองหรือคนใกล้ชิด
ทั้งเหตุดีและเหตุร้ำย (๔) สำเหตุฝันประกำรที่สองเรียกว่ำ จิตนิวรณ์ (๕) หมำยถึง กำรเกิดฝันด้วยใจมีกังวล
เป็นห่วงผูกพันกับบุคคลหรือกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (๖) เช่น นักเรียนกังวลเกี่ยวกับกำรสอบ ก็อำจฝันว่ำสอบตก
หรือไปสอบไม่ทัน หำกกังวลเกี่ยวกับกำรเดินทำงก็อำจฝันว่ำตกรถ (๗) สำเหตุฝันประกำรต่อมำ คือ เทพสังหรณ์
36 คู่มือการดำาเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำาเร็จ
ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕