Page 47 - คู่มือการดำเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
P. 47

ลักษณะการขยายความ
                          ๒.๓.๑ การให้ค�าจ�ากัดความ กำรขยำยควำมลักษณะนี้เป็นกำรอธิบำยควำมหมำยของค�ำ
            หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งในเนื้อเรื่องเพื่อให้ผู้อ่ำนเข้ำใจตรงกัน นอกจำกนี้ยังรวมถึงกำรอธิบำยขอบเขตของควำมหมำย
            ของเรื่องด้วย กำรขยำยควำมลักษณะนี้อำจจะมีกำรยกตัวอย่ำงประกอบด้วย
                          ๒.๓.๒ การอธิบายให้รายละเอียด กำรขยำยควำมลักษณะนี้จะใช้เมื่อต้องกำรแจกแจง
            สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อธิบำยลักษณะหรือองค์ประกอบต่ำง ๆ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือแสดงขั้นตอน กระบวนกำร

            บรรยำยเหตุกำรณ์อย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง อำจจะขยำยโดยอธิบำยให้รำยละเอียด หรืออธิบำยให้รำยละเอียด
            พร้อมยกตัวอย่ำงก็ได้
                          กำรอธิบำยให้รำยละเอียดนี้นิยมใช้ค�ำเชื่อม “คือ” “กล่ำวคือ” เพื่อแสดงให้ทรำบว่ำ ข้อควำม
            ที่อยู่หลังค�ำเชื่อมดังกล่ำวเป็นกำรอธิบำยให้รำยละเอียด
                          ๒.๓.๓ การให้เหตุผล กำรขยำยควำมลักษณะนี้ใช้เขียนให้ผู้อ่ำนเห็นคล้อยตำม กำรขยำยควำม
            ด้วยวิธีนี้ท�ำได้หลำยวิธี อำจเสนอควำมคิดที่เป็นข้อสรุปและตำมด้วยข้อสนับสนุนต่ำง ๆ ซึ่งเป็นเหตุผล หรือหลักฐำน
            โดยกำรยกตัวอย่ำง หรือเสนอผลลัพธ์เพื่อให้ผู้อ่ำนตระหนักแล้วตำมด้วยสำเหตุต่ำง ๆ ที่ท�ำให้เกิดผลนั้น
                          กำรขยำยควำมด้วยกำรให้เหตุผลนี้มักจะปรำกฏกำรใช้ค�ำเชื่อมแสดงเหตุผล  “จึง”
            และ “เพรำะ” ซึ่งมีลักษณะโครงสร้ำงคือ เหตุ + “จึง” + ผล และ ผล + “เพรำะ” + เหตุ ส่วนที่เป็นใจควำมส�ำคัญ

            คือ ส่วนที่แสดงผล
                          ๒.๓.๔ การยกตัวอย่าง กำรขยำยควำมลักษณะนี้มักจะใช้ร่วมกับวิธีอื่น เช่น กำรให้ค�ำจ�ำกัดควำม
            กำรอธิบำยให้รำยละเอียด หรือจะใช้วิธีกำรยกตัวอย่ำงแต่เพียงอย่ำงเดียวโดยกำรยกตัวอย่ำงหลำย ๆ ตัวอย่ำง
            แล้วจึงสรุปท้ำยย่อหน้ำด้วยประโยคใจควำมส�ำคัญ
                                กำรยกตัวอย่ำงนี้นิยมใช้ค�ำเชื่อม “เช่น” “ได้แก่” เพื่อแสดงให้ทรำบว่ำ ข้อควำม
            ที่อยู่หลังค�ำเชื่อมดังกล่ำวเป็นกำรยกตัวอย่ำง
                          ๒.๓.๕ การเปรียบเทียบ กำรขยำยควำมลักษณะนี้จะใช้เขียนเพื่อเปรียบเทียบในลักษณะ

            ข้อเท็จจริงที่สำมำรถพิสูจน์ได้ โดยอำจมีจุดมุ่งหมำยเปรียบเทียบควำมเหมือนกันหรือควำมแตกต่ำงกัน
            โดยก�ำหนดประเด็นที่เหมือนกันหรือแตกต่ำงกันว่ำมีอะไรบ้ำง แล้วจึงเปรียบเทียบไปทีละประเด็น เพื่อให้ผู้อ่ำน
            เข้ำใจเรื่องที่ยกมำเปรียบเทียบได้ชัดเจนในด้ำนควำมเหมือนกันหรือควำมแตกต่ำงกัน หรืออำจใช้กำรยกเรื่องรำว
            เป็นอุทำหรณ์ขึ้นมำก่อนแล้วจึงสรุปประเด็นควำมคิดส�ำคัญที่จะเสนอ หรือกำรเขียนอุปมำเปรียบเทียบสิ่งที่มี
            คุณสมบัติอย่ำงเดียวกันเพื่อให้ควำมคิดส�ำคัญชัดเจนขึ้น
                          กำรขยำยควำมด้วยกำรเปรียบเทียบนี้จะมีลักษณะโครงสร้ำงคือ  ตัวตั้ง  +  ค�ำเชื่อม
            แสดงกำรเปรียบเทียบ + ตัวเปรียบ ส่วนที่เป็นใจควำมส�ำคัญ คือ ส่วนที่แสดงตัวตั้ง
                          ตัวอย่าง
                          พระรำชวัง หมำยถึง วังของพระมหำกษัตริย์ มีระดับควำมส�ำคัญรองจำกพระบรมมหำรำชวัง

            เป็นที่ประทับของพระมหำกษัตริย์ตำมขัตติยรำชประเพณีมำแต่โบรำณ กำรเรียกวังว่ำพระรำชวังได้นั้น
            พระมหำกษัตริย์จะทรงประกำศพระบรมรำชโองกำรสถำปนำวังขึ้นเป็นพระรำชวัง จึงจะจัดเป็นที่ประทับ
            ของพระมหำกษัตริย์ได้ เช่น พระรำชวังดุสิต เมื่อแรกสร้ำงพระรำชทำนชื่อว่ำ สวนดุสิต ต่อมำจึงประกำศ
            ยกขึ้นเป็นพระรำชวังดุสิต ส่วนพระต�ำหนักจิตรลดำรโหฐำนซึ่งเป็นที่ประทับของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว
            รัชกำลปัจจุบันสร้ำงขึ้นในสมัยรัชกำลที่ ๖ เป็นส่วนหนึ่งของพระรำชวังดุสิตเรียกว่ำ พระต�ำหนักจิตรลดำรโหฐำน
            สวนจิตรลดำ พระรำชวังดุสิตไม่เรียกว่ำพระรำชวังจิตรลดำ รำษฎรทั่วไปเรียกอย่ำงไม่เป็นทำงกำรว่ำ สวนจิตรลดำ
                                                                      (รัตนำ ฦๅชำฤทธิ์, ๒๕๔๖, น.๑๗๒)

                                                                  คู่มือการดำาเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำาเร็จ
                                             ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕  41
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52