Page 46 - คู่มือการดำเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
P. 46

๒. ข้อใดเป็นจุดเด่นของผลฟักข้ำวในข้อควำมต่อไปนี้ (O-NET ม.๖)
                  หำกน�ำผลสุกของฟักข้ำวมำผ่ำ จะพบไส้ในซึ่งเป็นเยื่อหุ้มเมล็ดเหมือนวุ้นสีแดงสด จำกกำรศึกษำ
          พบว่ำ เยื่อหุ้มเมล็ดนี้มีสำรต้ำนอนุมูลอิสระในปริมำณที่สูงมำก กล่ำวคือ มีไลโคปีนสูงกว่ำมะเขือเทศ ๑๒ เท่ำ

          และมีเบตำแคโรทีนมำกกว่ำแครอตถึง ๑๐ เท่ำ ด้วยปริมำณสำรต้ำนอนุมูลอิสระในเยื่อหุ้มเมล็ด จึงมีกำรน�ำ
          ผลฟักข้ำวมำใช้ประโยชน์โดยแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีสรรพคุณโดดเด่น มีผู้ตั้งสมญำนำมผักพื้นบ้ำนชนิดนี้ว่ำ
          “ผลไม้จำกสวรรค์”

                  ๑) ชื่อ                     ๒) สีสดใส                   ๓) ชนิดของพืช
                  ๔) สำรภำยในผล               ๕) ผลิตภัณฑ์แปรรูป
          ๓. ข้อใดเป็นประเด็นส�ำคัญเกี่ยวกับเครื่องซักผ้ำในข้อควำมต่อไปนี้ (O-NET ม.๖)
                  เครื่องซักผ้ำมีทั้งชนิดฝำด้ำนบนและฝำด้ำนหน้ำ เมื่อใช้เครื่องซักผ้ำแล้วจะมีควำมเปียกชื้นภำยในเครื่อง
          กำรปิดฝำไว้จึงไม่เป็นผลดีต่อกำรระบำยควำมชื้นที่หลงเหลืออยู่ และมีโอกำสเกิดเชื้อรำที่เป็นอันตรำย

          ต่อสุขภำพ นอกจำกนี้ถังซักผ้ำที่ใช้ไปนำน ๆ จะมีครำบตะกรันเกำะติดอยู่ ในครำบตะกรันนี้เป็นแหล่งที่เชื้อรำ
          ขยำยพันธุ์ได้อย่ำงรวดเร็ว เมื่อเป็นเช่นนี้จึงควรเปิดฝำเครื่องซักผ้ำไว้หลังใช้งำน
                  ๑) วิธีใช้                  ๒) จุดอ่อน                  ๓) ประเภท

                  ๔) วิธียืดอำยุกำรใช้งำน     ๕) กำรดูแลรักษำไม่ให้เกิดเชื้อรำ
          ๔. อ่ำนข้อควำมต่อไปนี้แล้วตอบค�ำถำม (O-NET ม.๓)
                  คลองแสนแสบเป็นคลองขุดใหม่ในรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระนั่งเกล้ำเจ้ำอยู่หัว รัชกำลที่ ๓
          ใช้เวลำในกำรขุด ๓ ปี คือ ระหว่ำง พ.ศ.๒๓๘๐ - ๒๓๘๓ คลองแสนแสบเริ่มขุดตั้งแต่บริเวณคลองบำงล�ำพู
          กับคลองโอ่งอ่ำงบรรจบกันมำถึงวังสระปทุม ผ่ำนเขตหนองจอก ถึงต�ำบลบำงน�้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรำ

          แล้วเชื่อมต่อกับคลองบำงขนำกเพื่อออกสู่แม่น�้ำบำงปะกง
                  กำรขุดคลองแสนแสบมีคุณค่ำด้ำนใดอย่ำงชัดเจนตำมข้อควำมข้ำงต้น
                  ๑) กำรอนุรักษ์                     ๒) กำรเลี้ยงชีพ

                  ๓) กำรคมนำคม                       ๔) กำรท่องเที่ยว



                  ๒.๓ ตัดส่วนขยายใจความส�าคัญทิ้ง
                       ธรรมชำติของกำรเขียนนั้น กำรน�ำเสนอควำมคิดหรือควำมรู้ในงำนเขียน ผู้เขียนไม่ได้เสนอ

          แต่ใจควำมส�ำคัญออกมำอย่ำงตรงไปตรงมำ กล่ำวคือ ผู้เขียนไม่ได้กล่ำวตรง ๆ ว่ำ เรื่องที่เขียนนั้น
          มีใจควำมส�ำคัญอย่ำงไร แต่จะถูกห้อมล้อมด้วยบริบท  ซึ่งในโครงสร้ำงของกำรเขียนก็คือ กำรขยำยควำม
                                                    ๒
          อำจแสดงอยู่ในลักษณะกำรให้ค�ำจ�ำกัดควำม กำรอธิบำยให้รำยละเอียด กำรให้เหตุผล กำรยกตัวอย่ำง

          หรือกำรเปรียบเทียบก็ได้  ดังนั้นหน้ำที่ของผู้อ่ำนก็คือ  ต้องแยกใจควำมส�ำคัญออกจำกข้อควำม
          ที่เป็นส่วนขยำยใจควำมส�ำคัญออกมำให้ได้





          ๒  บริบท คือ ค�ำ ข้อควำม หรือสถำนกำรณ์แวดล้อมเพื่อช่วยให้เข้ำใจควำมหมำยของภำษำหรือของถ้อยค�ำ


      40      คู่มือการดำาเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำาเร็จ
              ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51