Page 45 - คู่มือการดำเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
P. 45

ย่อหน้ำนี้สื่อเรื่องของ “ชำวเรือ” ท�ำอะไร จะพบข้อควำมที่แสดงถึงกำรกระท�ำของชำวเรือ
            ที่แตกต่ำงกัน เช่น “มักไม่ยอมให้ใครเหยียบหัวเรือ แม้จะข้ำมก็ยังไม่ยอมให้ข้ำม” “เคร่งมำกจะจุดธูปบูชำ
            ทั้งเช้ำและเย็น” “ที่เคร่งมำก ๆ ถึงกับจัดอำหำรเซ่นทุกเช้ำ” แต่กำรกระท�ำดังกล่ำวนี้ต่ำงสื่อควำมหมำยร่วมกัน

            แสดงให้เห็นว่ำ ชำวเรือ “นับถือ” หรือ “ถือ” หัวเรือ นอกจำกนี้ จำกกำรกระท�ำหลำย ๆ อย่ำงดังกล่ำวยังแสดง
            ให้เห็นถึงกำรนับถือหัวเรือของชำวเรือที่มีมำกด้วย
                          จำกค�ำส�ำคัญที่ได้ สำมำรถสรุปใจควำมส�ำคัญของย่อหน้ำนี้ได้ว่ำ “ชำวเรือนับถือหัวเรือมำก”

            ซึ่งสื่อควำมหมำยเหมือนกับประโยคแรกของย่อหน้ำนี้ที่ว่ำ “สิ่งที่ชำวเรือถือกันมำกก็คือ ‘หัวเรือ’”


                                                  แบบฝึกหัด

            ๑. ข้อใดเป็นประเด็นส�ำคัญของข้อควำมต่อไปนี้ (O-NET ม.๖)

                     ค�ำพูดของพ่อแม่อำจท�ำให้ลูกเกิดควำมเข้ำใจไม่ตรงกัน  และท�ำให้เกิดปัญหำตำมมำได้
            เช่น พ่อแม่รักและเป็นห่วงลูกเรื่องกำรท�ำกำรบ้ำน หรือกำรอ่ำนหนังสือเพื่อเตรียมตัวสอบ แต่ถ้ำค�ำพูดของพ่อแม่
            เป็นไปในลักษณะพร�่ำบ่น ลูกอำจเข้ำใจผิดคิดว่ำพ่อแม่เคี่ยวเข็ญและก้ำวก่ำยชีวิตส่วนตัวมำกเกินไป จึงต้องมี
            กำรอธิบำยเพื่อให้เกิดควำมเข้ำใจซึ่งกันและกัน ลูกจะได้เข้ำใจว่ำพ่อแม่หวังดีต่อตน

                     ๑) หน้ำที่ของลูกที่ดี      ๒) กำรอบรมสั่งสอนลูก         ๓) โลกส่วนตัวของเด็ก
                     ๔) ควำมหวังดีของพ่อแม่     ๕) กำรสื่อสำรในครอบครัว
                     จำกตัวอย่ำงข้ำงต้นจะเห็นได้ว่ำ ย่อหน้ำนี้มีค�ำส�ำคัญ ๔ ค�ำ คือ “ค�ำพูด” “พ่อแม่” “ลูก”
            และ “ควำมเข้ำใจ”

                     ค�ำส�ำคัญค�ำที่ ๑ “ค�ำพูด” ปรำกฏซ�้ำ ๆ ตั้งแต่ต้นจนจบในย่อหน้ำทั้งลักษณะที่ ๑ คือ “ค�ำพูด”
            ๒ ครั้ง และลักษณะที่ ๒ คือ “พร�่ำบ่น” และ “กำรอธิบำย” ที่สื่อควำมหมำยถึง “ค�ำพูด”
                     ส่วนค�ำส�ำคัญค�ำที่ ๒ “พ่อแม่” ค�ำที่ ๓ “ลูก” และค�ำที่ ๔ “ควำมเข้ำใจ” ปรำกฏซ�้ำ ๆ ตั้งแต่ต้นจนจบ
            ในย่อหน้ำเฉพำะลักษณะที่ ๑ คือ “พ่อแม่” ๕ ครั้ง “ลูก” ๔ ครั้ง และ “ควำมเข้ำใจ” (หรือ “เข้ำใจ”) ๔ ครั้ง

                     ค�าพูดของพ่อแม่อำจท�ำให้ลูกเกิดความเข้าใจไม่ตรงกัน และท�ำให้เกิดปัญหำตำมมำได้ เช่น พ่อแม่
            รักและเป็นห่วงลูกเรื่องกำรท�ำกำรบ้ำน หรือกำรอ่ำนหนังสือเพื่อเตรียมตัวสอบ แต่ถ้ำค�าพูดของพ่อแม่
            เป็นไปในลักษณะพร�่ำบ่น ลูกอำจเข้าใจผิดคิดว่ำพ่อแม่เคี่ยวเข็ญและก้ำวก่ำยชีวิตส่วนตัวมำกเกินไป
            จึงต้องมี กำรอธิบำยเพื่อให้เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน ลูกจะได้เข้าใจว่ำพ่อแม่หวังดีต่อตน

                     จำกค�ำส�ำคัญที่ได้ ประเด็นส�ำคัญของย่อหน้ำนี้จึงตรงกับตัวเลือกที่ ๕) กำรสื่อสำรในครอบครัว
            เพรำะค�ำว่ำ “กำรสื่อสำร” สื่อควำมหมำยครอบคลุมค�ำส�ำคัญ “ค�ำพูด” “พร�่ำบ่น” และ “กำรอธิบำย”
            ที่เกี่ยวข้องกับค�ำส�ำคัญ “ควำมเข้ำใจ” เพรำะในกระบวนกำรสื่อสำรจะท�ำให้เกิดผลหรือปฏิกิริยำตอบสนอง
            ซึ่งหมำยถึง ปฏิกิริยำของผู้รับสำรอันเป็นผลที่เกิดขึ้นต่อเนื่องจำกกำรรับรู้ควำมหมำยของสำรที่ส่งมำให้ ตรงกับค�ำว่ำ

            “ควำมเข้ำใจ” หรือ “เข้ำใจ” ส่วนค�ำว่ำ “ครอบครัว” สื่อควำมหมำยครอบคลุมค�ำส�ำคัญ “พ่อแม่” และ “ลูก”
                     ส่วนตัวเลือก ๑), ๒), และ ๔) จะมีค�ำส�ำคัญไม่ครบ และตัวเลือก ๓) ค�ำที่ใช้ไม่ปรำกฏในย่อหน้ำจึงไม่ถูกต้อง







                                                                  คู่มือการดำาเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำาเร็จ
                                             ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕  39
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50