Page 44 - คู่มือการดำเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
P. 44
๒.๑ อ่านเรื่องเพื่อท�าความเข้าใจภาพรวมของเนื้อหาทั้งหมด
ผู้อ่ำนต้องอ่ำนเรื่องที่จะจับใจควำมส�ำคัญตั้งแต่ต้นจนจบ เพื่อท�ำควำมเข้ำใจและได้ภำพรวม
ของเนื้อหำของเรื่องที่อ่ำนอย่ำงคร่ำว ๆ โดยในขณะที่อ่ำนควรตั้งค�ำถำมและพิจำรณำว่ำ ผู้เขียนก�ำลังสื่อเรื่องอะไร
ใคร ท�ำอะไร เมื่อไร ที่ไหน ด้วยเหตุผลใด และอย่ำงไร หำกเรื่องนั้นมีชื่อเรื่องก็ให้พิจำรณำตั้งแต่ชื่อเรื่อง
เพรำะโดยทั่วไปชื่อเรื่องมักจะสอดคล้องกับใจควำมส�ำคัญหรือควำมคิดหลัก หรือช่วยแสดงให้เห็นถึงจุดสนใจของเรื่อง
๒.๒ พิจารณาหาค�าส�าคัญ (key words) ของเนื้อหาในแต่ละย่อหน้า
๑
ค�ำส�ำคัญ (key words) เป็นค�ำที่ก�ำหนดเป้ำหมำยเพื่อน�ำไปสู่ใจควำมส�ำคัญหรือควำมคิดหลัก
ของเรื่องที่อ่ำน ในแต่ละย่อหน้ำนั้นอำจมีค�ำส�ำคัญมำกกว่ำหนึ่งค�ำ แต่เมื่อน�ำค�ำเหล่ำนั้นมำเชื่อมโยงสร้ำงควำมสัมพันธ์
ให้เกิดขึ้นก็สำมำรถทรำบถึงใจควำมส�ำคัญหรือควำมคิดหลักของเรื่องที่อ่ำนได้
ลักษณะของค�าส�าคัญ
ธรรมชำติของกำรเขียนนั้น ผู้เขียนมิได้มีกำรก�ำหนดต�ำแหน่งที่ตั้งของค�ำส�ำคัญ ผู้อ่ำนสำมำรถ
จะสังเกตค�ำส�ำคัญได้โดยอำศัยหลัก ดังนี้
(๑) เป็นค�ำ กลุ่มค�ำ หรือประโยคที่เขียนเหมือนกัน สื่อควำมหมำยเหมือนกัน ปรำกฏซ�้ำ ๆ
ตั้งแต่ต้นจนจบ
(๒) เป็นค�ำ กลุ่มค�ำ หรือประโยคที่เขียนต่ำงกัน แต่สื่อควำมหมำยเหมือนกัน ปรำกฏซ�้ำ ๆ
ตั้งแต่ต้นจนจบ
ตัวอย่าง
สิ่งที่ชำวเรือถือกันมำกก็คือ “หัวเรือ” นับถือกันว่ำเป็นที่แม่ย่ำนำงอยู่ พวกแม่ค้ำที่ใช้เรือ
เป็นพำหนะบรรทุกของและอยู่อำศัย ไม่ว่ำจะเป็นเรือเล็กหรือใหญ่ มักไม่ยอมให้ใครเหยียบหัวเรือ แม้จะข้ำม
ก็ยังไม่ยอมให้ข้ำม เจ้ำของเรือบำงคนเคร่งมำกจะจุดธูปบูชำทั้งเช้ำและเย็น ที่หัวเรือบำงล�ำมีแผ่นทองเหลือง
หุ้มอย่ำงสวยงำม และมีซองทองเหลืองเล็ก ๆ ติดไว้ที่ทวนหัวเรือส�ำหรับปักธูป บำงทีก็มีพวงมำลัยคล้องหัวเรือ
ที่เคร่งมำก ๆ ถึงกับจัดอำหำรเซ่นทุกเช้ำก็มี
(ส.พลำยน้อย, ๒๕๖๐, น.๗๘)
จำกย่อหน้ำข้ำงต้น ค�ำส�ำคัญลักษณะที่ ๑ ที่เขียนเหมือนกัน สื่อควำมหมำยเหมือนกัน
ปรำกฏซ�้ำ ๆ ตั้งแต่ต้นจนจบในย่อหน้ำ คือ ค�ำว่ำ “หัวเรือ”
ส่วนค�ำส�ำคัญลักษณะที่ ๒ ที่เขียนต่ำงกัน แต่สื่อควำมหมำยเหมือนกัน ปรำกฏซ�้ำ ๆ ตั้งแต่ต้น
จนจบในย่อหน้ำนั้น อำจพิจำรณำร่วมกับกำรอ่ำนแล้วตั้งค�ำถำมว่ำผู้เขียนก�ำลังสื่อเรื่องอะไร ใคร ท�ำอะไร เมื่อไร
ที่ไหน ด้วยเหตุผลใด และอย่ำงไร ดังนี้
ย่อหน้ำนี้สื่อเรื่องของใคร จะพบค�ำที่เขียนต่ำงกันที่เกี่ยวข้องกับบุคคล ๓ ค�ำ คือ ค�ำว่ำ
“ชำวเรือ” “พวกแม่ค้ำที่ใช้เรือ” และ “เจ้ำของเรือ” แม้ค�ำทั้ง ๓ ค�ำจะเขียนต่ำงกัน แต่สื่อควำมหมำยเหมือนกัน
ถึงบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเรือ เมื่อพิจำรณำแล้ว ค�ำที่สื่อควำมหมำยครอบคลุมย่อหน้ำนี้ก็คือ ค�ำว่ำ “ชำวเรือ”
๑ ต�ำรำบำงเล่มใช้ว่ำ “ค�ำกุญแจ” “ค�ำหลัก” หรือ “ค�ำไข”
38 คู่มือการดำาเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำาเร็จ
ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕