Page 31 - คู่มือแนวทางการดำเนินงาน NCD Clinic Plus
P. 31

2.2 ระบบข้อมูล และสำรสนเทศที่เชื่อมโยงแลกเปลี่ยนเพื่อกำรบริกำรต่อเนื่อง

            ในเครือข่ำย และเชื่อมโยงกับ Health data center อ�ำเภอ และ Health data center จังหวัด
                         ในระดับอ�าเภอจะต้องมีระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีการเชื่อมโยงกันระหว่าง Health
            Data Center อ�าเภอ และ Health Data Center จังหวัด โดยต้องมีการใช้ data exchange ตรวจสอบ

            ข้อมูลและระบบสารสนเทศร่วมกันในระดับอ�าเภอและจังหวัด รวมทั้งมีการคืนข้อมูล และสะท้อน
            ปัญหาที่พบให้หน่วยบริการแก้ไข และปรับปรุงระบบข้อมูลและสารสนเทศให้เป็นปัจจุบัน และถูกต้อง
                         เอกสารที่ใช้ประกอบการพิจารณา: เช่น

                         ระบบ Data Exchange ใน HDC ของสถานบริการสาธารณสุข, Excel file ที่ Export
            จากระบบ Data Exchange เป็นต้น

                       2.3 มีข้อมูลที่ใช้ในกำรตัดสินใจเชิงนโยบำยและวำงแผนกำรด�ำเนินงำนเพื่อกำร
            ป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อ
                         มีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลผลการด�าเนินงานและการให้บริการอย่างต่อเนื่อง

            เพื่อน�าข้อมูลมาใช้ประโยชน์ในการวางแผนปรับปรุงคุณภาพการด�าเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
            การดูแลรักษา และออกแบบบริการสุขภาพ ทั้งในรายบุคคล กลุ่มผู้รับบริการ และกลุ่มประชากร
            ในพื้นที่รับผิดชอบ รวมไปถึงการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ผู้บริหารใช้ในการตัดสินใจเชิงนโยบาย ตัวอย่าง

            การวิเคราะห์ข้อมูล ที่เป็น Minimum Data Set ดังนี้
                          1)  ข้อมูลคัดกรอง DM, HT ในกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ BMI รอบเอว เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
                           การสูบบุหรี่

                          2)  อัตราการวินิจฉัยรายใหม่ DM และ HT
                          3)  ความชุก DM และ HT
                          4)  ชุดข้อมูลคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า

                          5)  ชุดข้อมูลคุณภาพบริการ (ผู้ป่วยที่ควบคุมได้ และควบคุมไม่ได้)
                          6)  ข้อมูลประเมิน CVD Risk กลุ่มเสี่ยงสูง CVD

                          7)  ข้อมูลปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มป่วย ได้แก่ BMI รอบเอว เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
                           การสูบบุหรี่ หรือ อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ส�าคัญ
                          สรุปประเด็นสำาคัญ:

                         การวิเคราะห์ข้อมูล หมายถึง การน�าข้อมูลที่เก็บรวบรวม เช่น จากระบบทะเบียน
            มาจัดท�าประมวลผล ให้อยู่ในรูปแบบผลลัพธ์ ที่สามารถน�าไปใช้งานได้ เช่น จ�านวน อัตรา สัดส่วน ความชุก

            เป็นต้น และสามารถวิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งอื่นที่น่าเชื่อถือ เช่น การน�าข้อมูลการวิจัย การส�ารวจ
            ปัจจัยสิ่งแวดล้อม ปัจจัยก�าหนดทางสุขภาพ ระบาดวิทยา เป็นต้น เพื่อน�ามาใช้อธิบายการเกิดของ
            เหตุการณ์เชิงพรรณนาของบุคคล เวลา สถานที่







                                                       คู่มือแนวทางการด�าเนินงาน N C D  Clinic Plus  24
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36