Page 156 - รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำปี 2563
P. 156

ดังนั้น เพื่อให้เกิดการปรับปรุงพัฒนาอย่างเชื่อมโยงและต่อเนื่อง ซึ่งจะทำาให้เห็นพัฒนาการในด้านคุณธรรมและความโปร่งใส
            อย่างชัดเจน ธนาคารจึงได้กำาหนดมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสทั้งในส่วนของ
                1. แผนการเพิ่มประสิทธิภาพปรับปรุงกระบวนการทำางาน/การให้บริการของธนาคาร
                2. แผนเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสาร เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการดำาเนินงาน/การให้บริการของธนาคาร และเผยแพร่
                   ผลงานหรือข้อมูลของธนาคาร โดยมีรายละเอียดแต่ละมาตรการ ดังนี้




                           มาตรการที่ 1 แผนการเพิ่มประสิทธิภาพปรับปรุงกระบวนการทำางาน/การให้บริการของธนาคาร


                    การดำาเนินการ                        ผลการดำาเนินงาน (เดือนมกราคม-มิถุนายน 2563)

               แผนงาน 1 : แผนการปรับเปลี่ยนรูปแบบสาขาเป็น Social Branch

              •  ปรับแนวทางการดำาเนินงาน  ทำางานของพนักงานที่เน้นด้าน Service ไปทำางานด้าน Social เพื่อมุ่งสู่การเป็นธนาคารเพื่อ
               ของสาขา โดยปรับการทำางาน  ความยั่งยืน (Sustainable Banking) โดยเน้นดูแลลูกค้า 7 รูปแบบ
               ของพนักงานที่ Service เดิม    1) Financial Logistic Center
               ไปทำางานด้าน Social เพื่อ     2) ศูนย์พัฒนาอาชีพ
               มุ่งสู่การเป็นธนาคารเพื่อ     3) ศูนย์ที่ปรึกษาทางการเงิน
               ความยั่งยืน (Sustainable     4) ศูนย์แก้ไขหนี้นอกระบบ
               Banking)                    5) ศูนย์แสดงสินค้าชุมชน
                                           6) การท่องเที่ยวชุมชน
                                           7) Community Center, ศูนย์รักษาพยาบาล

               แผนงาน 2 : การกำาหนดแนวทางในการรับฟังเสียงของลูกค้า


              •  ทบทวนแนวทางการรับฟัง    2.1 ทบทวนแนวทางการรับฟังเสียงของลูกค้าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการเปิดโอกาส
               เสียงของลูกค้าเพื่อ         การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรวบรวมเสียงของลูกค้าจากช่องทางต่าง ๆ ของ
               เพิ่มประสิทธิภาพของ         ธนาคาร และ Social Media เพื่อใช้ในการบริหารจัดการและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ โดยจัดทำา
               กระบวนการเปิดโอกาส          รายงานบทวิเคราะห์เสียงของลูกค้าฐานรากและสนับสนุนนโยบายรัฐ (Voice of
               การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้    Customer) โดยเสียงของลูกค้าส่วนใหญ่กล่าวถึงมาตรการช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ
               ส่วนเสีย                    จากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) ของธนาคาร เช่น มาตรการพักหนี้
                                           และมาตรการสินเชื่อผ่อนปรนต่าง ๆ เป็นต้น
              •  รวบรวมเสียงของลูกค้าและ
               นำาความคิดเห็น  มาใช้ใน   2.2 รวบรวมเสียงของลูกค้าและนำาความคิดเห็นมาใช้ในการปรับปรุงผลิตภัณฑ์และกระบวนการ
               การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ และ    ให้บริการให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า ธนาคารได้เปิดโอกาสให้ลูกค้ามีส่วนร่วม
               กระบวนการให้บริการให้       แสดงความคิดเห็นผ่านช่องทางต่าง ๆ ได้แก่ Call Center/ สำานักงานสาขา/ Social Media/
               สอดคล้องกับความต้องการ      ผู้ประกอบการ SMEs/ SMEs Call Center/ Website : Smestartup.gsb.or.th/
               ของลูกค้า                   หน่วยงานพันธมิตร โดยลูกค้าที่ได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจและการแพร่ระบาดของ
                                           ไวรัสโคโรนา (COVID-19) เนื่องจากรายได้ลดลงหรือถูกเลิกจ้าง ได้แสดงความต้องการ/
                                           ความคาดหวังให้ธนาคารบรรเทาผลกระทบ เพื่อให้มีเงินใช้จ่ายในชีวิตประจำาวัน/ การดำาเนิน
                                           ธุรกิจ หรือเพื่อไม่ให้เป็นหนี้ค้างชำาระ เช่น ต้องการเงินกู้ฉุกเฉินที่วงเงิน ไม่สูงมาก อัตรา
                                           ดอกเบี้ยตำ่า เอกสารประกอบการกู้ไม่มาก ระยะเวลาพิจารณาอนุมัติรวดเร็ว ไม่ต้องการ
                                           ไปสาขาหลายครั้งในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) ธนาคารจึงได้
                                           ออกมาตรการด้านสินเชื่อ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า ดังนี้










           152    ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อสังคม
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161