Page 16 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 16

ต านานพุทธเจดีย์สยามถือเป็นหนังสือวิชาการเล่มแรกที่เขียนขึ้นโดยคนไทย
                       โดยกล่าวถึงการจัดแบ่งล าดับอายุสมัยทางศิลปกรรม ได้แก่
                              1)  สมัยทวารวดี (พ.ศ. 500)

                              2)  สมัยศรีวิชัย (พ.ศ. 1300)

                              3)  สมัยลพบุรี (พ.ศ. 1600)
                              4)  สมัยเชียงแสน (พ.ศ. 1600)
                              5)  สมัยสุโขทัย (พ.ศ. 1800)

                              6)  สมัยอยุธยา (พ.ศ. 1900)

                                                            21
                              7)  สมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2325)
                              สมเด็จฯ กรมพระยาด ารงราชานุภาพทรงกล่าวถึงรูปแบบศิลปะของโบราณสถานและ
                       ประติมากรรมแต่ละสมัย พร้อมทั้งข้อสันนิษฐานต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการค้นคว้าต่อไป

                       ตัวอย่างเช่น “พุทธเจดีย์สมัยทวารวดีมีอยู่ที่เมืองนครปฐมมากกว่าแห่งอื่น เป็นพุทธเจดีย์ที่เก่า

                       ที่สุดในประเทศสยาม และเชื่อว่าได้แบบอย่างมาแต่มคธราฐ...”  หรือ “พุทธเจดีย์แบบสมัย
                                                                                22
                       ศรีวิชัยสร้างตามลัทธิมหายาน เมื่อพระบรมธาตุหายากเสียแล้ว จึงมิได้ถือการสร้างพระธาตุ
                       เจดีย์เป็นส าคัญ เหมือนเมื่อสมัยทวารวดี พุทธเจดีย์ซึ่งสร้างเป็นหลักในสมัยศรีวิชัยมักท าเป็น

                       มณฑปที่ประดิษฐานพระพุทธรูป ยอดเป็นพระสถูป ดังเช่นพระมหาธาตุเมืองไชยายังมีอยู่เป็น
                                23
                       ตัวอย่าง...”  หรือ “พุทธเจดีย์ตามแบบสมัยลพบุรีสร้างแพร่หลายในประเทศสยามยิ่งกว่าแบบ
                       สมัยอื่น เพราะเนื่องกันกับแบบประเทศขอม และสร้างสืบมาในสมัยเมื่อพวกขอมมาปกครอง
                                  24
                       ประเทศนี้...”  เป็นต้น


                              1.2.5  นักวิชำกำรคนส ำคัญด้ำนโบรำณคดีสมัยประวัติศำสตร์ในประเทศไทย
                              ข้าราชการหรือนักโบราณคดีคู่พระทัยสมเด็จฯ กรมพระยาด ารงราชานุภาพนั้นคือ

                       พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) หนังสือส าคัญของท่านคือ “ต ำนำนกรุงเก่ำ” (พ.ศ.
                       2450) และ “อธิบำยแผนที่พระนครศรีอยุธยำกับค ำวินิ จฉัยของพระยำโบรำณ

                       รำชธำนิ นทร์” (พ.ศ. 2469) ซึ่งเป็นเอกสารหลักที่ใช้ในการศึกษาโบราณสถานใน
                       พระนครศรีอยุธยาจวบจนถึงปัจจุบัน

                              ท่านยังเป็นผู้ขุดส ารวจพระเจดีย์ที่วัดพระศรีสรรเพชญ ตามพระด าริของสมเด็จฯ
                       กรมพระยาด ารงราชานุภาพ ดังความว่า “...ได้ให้พระยาโบราณราชธานินทร์เลือกหาพระเจดีย์

                       องค์เล็กๆ ที่รายอยู่รอบในวัดพระศรีสรรเพชญที่หักพังลงมาถึงพื้นดินแล้ว ลองขุดตรวจดูถึง
                       รากองค์หนึ่งก็พบอัฐิฝังไว้ในนั้น จึงเข้าใจได้แน่ว่า บรรดาพระเจดีย์ไม่ว่าน้อยใหญ่ที่อยู่ในวัด

                       พระศรีสรรเพชญ สร้างขึ้นเป็นที่บรรจุอัฐิธาตุของพระเจ้าแผ่นดินหรือเจ้านายในราชวงศ์ครั้ง
                                25
                       กรุงเก่า...”






                                                               10
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21