Page 18 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 18

ส่วน ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ (George Cœdès) เป็นนักปราชญ์ชาวฝรั่งเศสที่เข้า

                       มาท างานที่ราชบัณฑิตยสภา ตั้งแต่ พ.ศ. 2460 ภายใต้การก ากับดูแลของสมเด็จฯ กรมพระยา
                       ด ารงราชานุภาพ และท่านก็มีส่วนช่วยในการจัดพิมพ์หนังสือต านานพุทธเจดีย์สยามด้วย

                       ดังข้อความในค าน าของหนังสือเล่มดังกล่าวที่ว่า “ในการที่แต่งหนังสือเรื่องนี้ส าเร็จ ข้าพเจ้ารู้สึก
                       ขอบใจศาสตราจารย์ ยอช เซเดส์ มาก ด้วยรับหน้าที่การค้นหนังสือและการเลือกรูปภาพที่พิมพ์

                                           27
                       ต้องเหน็ดเหนื่อยมาก”
                              ศาสตราจารย์เซเดส์เป็นนักอ่านจารึกโบราณแห่งส านักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศ

                       (École française d'Extrème-Orient) หนังสือและบทความชิ้นส าคัญๆ ของท่านที่เกี่ยวข้องกับ
                       จารึกและโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ของไทย เช่น หนังสือต านานอักษรไทย ประชุมศิลาจารึก

                       สยาม ภาคที่ 1 (จารึกรุงสุโขทัย) และภาคที่ 2 (จารึกกรุงทวารวดี เมืองละโว้ แลเมืองประเทศ
                       ราชขึ้นแก่กรุงศรีวิชัย) เรื่องราชอาณาจักรทะเลใต้ (ศรีวิชัย) ต านานพระพิมพ์ รวมทั้งบทความ

                       “กำรขุดค้นที่พงตึกและควำมส ำคัญต่อประวัติศำสตร์สมัยโบรำณแห่งประเทศไทย” และ
                       หนังสือ “โบรำณวัตถุในพิพิธภัณฑสถำนส ำหรับพระนคร”

                              บทความ “การขุดค้นที่พงตึกและความส าคัญต่อประวัติศาสตร์สมัยโบราณแห่งประเทศ

                       ไทย” นั้นตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2470 ในวารสารสยามสมาคม (แปลเป็นภาษาไทยโดย
                       หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล) กล่าวถึงผลการขุดค้นที่พงตึก (ปัจจุบันอยู่ในเขตอ าเภอท่ามะกา
                       จังหวัดกาญจนบุรี) โดยการขุดค้นเกิดขึ้นจากพระประสงค์ของสมเด็จฯ กรมพระยาด ารงราชา

                       นุภาพภายหลังจากที่ราษฎรในพื้นที่ขุดพบโครงกระดูกมนุษย์และพระพุทธรูปมีค่า  จากการ
                                                                                                28
                       ส ารวจและขุดค้นได้พบศาสนสถานและประติมากรรมหลายชิ้น ที่ส าคัญคือ พระพุทธรูปส าริด
                                                                               29
                       รุ่นเก่า (แบบอินเดียหรือศรีลังกา) และตะเกียงส าริด แบบโรมัน  โดยศาสตราจารย์เซเดส์ได้
                       สรุปความส าคัญของพงตึกไว้ว่า



                                     “หมู่บ้านพงตึกปัจจุบัน เคยเป็นที่ตั้งของเมืองโบราณ ....
                              เป็นสถานที่พักตามธรรมชาติของนักเดินทางโดยตั้งอยู่ที่ชุมทางระหว่าง
                              เมืองราชบุรีและเพชรบุรีทางทิศใต้ กาญจนบุรีและเมืองสิงห์ทางตะวันตก

                              อู่ทองทางทิศเหนือ และนครปฐมทางทิศตะวันออก ... เหตุผลที่ว่าท าไม

                              เมืองโบราณที่พงตึก ซึ่งตั้งอยู่อย่างเหมาะสม ณ ชุมทางดังกล่าวมาแล้ว
                              ได้ถูกทอดทิ้งไปในระยะเวลาแต่ต้น ก็คงจะเป็นเพราะแม่น ้าเปลี่ยนกระแส
                              การเดินทาง และการเปลี่ยนกระแสน ้านี้ ท าให้บางส่วนของเมืองถูก

                                                                               30
                              ท าลายลง รวมทั้งการเปลี่ยนสายทางเดินที่ใช้กันอยู่ด้วย”








                                                               12
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23