Page 51 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 51

55
                       (To-ho-lo or Tu-ho-lo) ซึ่งหมายถึงทวารวดีในภาคกลางของประเทศไทย  และมีอาณาเขตติด
                                               56
                       กับหลางยะซิ่วหรือลังกาสุกะ  ซึ่งน่าจะตั้งอยู่ที่บริเวณจังหวัดปัตตานี ดังนั้นขอบเขตของพันพัน
                       อาจครอบคลุมไปถึงเมืองโบราณเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดนครศรีธรรมราช และ

                       คาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลา รวมทั้งเขตจังหวัดพังลุงด้วยก็ได้
                                                                                 57
                                หลักฐานทางศิลปกรรมชิ้นส าคัญๆ ที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างดินแดน
                       แถบคาบสมุทรมลายู โดยเฉพาะบริเวณภาคใต้ของไทย กับพื้นที่แถบดินดอนสามเหลี่ยมปาก
                       แม่น ้าโขงของอาณาจักรฟูนัน คือประติมากรรมรูปพระวิษณุ (หรือพระนารายณ์) รุ่นเก่าจาก

                                 58
                       อ าเภอไชยา  (ภาพที่ 14) และจังหวัดนครศรีธรรมราช  ซึ่งมีอายุอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 10
                                                                       59
                           60
                       – 11  และยังมีพระพุทธรูปบางองค์จากอ าเภอไชยาและอ าเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ซึ่งมี
                       รูปแบบศิลปะคล้ายกับพระพุทธรูปศิลปะฟูนันที่พบทางใต้ของกัมพูชาและเวียดนามด้วย
                                                                                                  61


                              2.4.4  “ตักโกลา” และ “ลังกาสุกะ” ในภาคใต้ของไทย

                              ณ เมืองออกแก้วประเทศเวียดนามได้พบหัวแหวนสลักเป็นรูปการเคารพบูชาไฟและ
                       หน้าชนชาติอิหร่านสมัยราชวงศ์สัสสานิยะฮ์  แสดงว่าการค้าขายตามเส้นทางสายไหมทางทะเล
                                                            62
                       นั้นเกี่ยวข้องกับประเทศในตะวันออกกลางด้วย ที่แหล่งโบราณคดีควนลูกปัด อ าเภอคลองท่อม
                       จังหวัดกระบี่ ซึ่งเป็นชุมชนเมืองท่าขนถ่ายสินค้าและแหล่งผลิตลูกปัดรายใหญ่ร่วมสมัยกับเมือง

                       ออกแก้ว (ภาพที่ 20 - 21) ก็ได้พบแผ่นหินสลักตราสัญลักษณ์คล้ายรูปไก่ 2 ตัวยืนหันหน้าเข้า
                       หากันแบบเปอร์เซีย มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 10 – 11  ที่เมืองโบราณยะรัง จังหวัดปัตตานี
                                                                        63
                                                              64
                       ยังได้ค้นพบเหรียญเงินของพระเจ้าเปรอซที่ 1  (ภาพที่ 22) ถึงแม้จะไม่ได้มาจากการขุดค้นทาง
                       โบราณคดี แต่อาจใช้เป็นหลักฐานเชื่อมโยงกับการค้าของโลกโบราณระหว่างทั้ง 3 น่านน ้า คือ

                       ทะเลอาหรับ (อ่าวเปอร์เซีย) มหาสมุทรอินเดีย (อ่าวเบงกอล) และทะเลจีนใต้
























                            ภาพที่ 20 ลูกปัดแก้วและหัวแหวนสลักแบบโรมัน พบที่แหล่งโบราณคดีควนลูกปัด จังหวัดกระบี่






                                                               45
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56