Page 73 - โครงการพัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กรอย่างยั่งยืน
P. 73
• ความรับผิดชิอบต่อสังคม (Social Responsibility)
ผ้้บริหารและพนักงานบริษัท แสงไทยเมตัลดรัม จำากัด มีความใส่ใจและรับผิดชีอบต่อสังคม โดย
ได้ดำาเนินทั�งการบริจาคเงินโดยตรง และการจัดกิจกรรมจิตอาสาเพื�อสาธารณะในหลาย ๆ โอกาสอาทิ การ
เชีิญชีวนให้พนักงานเข้าร่วมบริจาคโลหิต การทำาโครงการปันสุข ในชี่วงของการแพร่ระบาดของเชีื�อโควิด-19
นอกจากนี� ยังมีหลายกิจกรรมที�ทีมงานได้ผ้กโยงเข้ากับกิจกรรมอื�น ๆ ที�บริษัทฯ ดำาเนินการเชี่น
ในโครงการส่งเสริมการออกกำาลังกายให้พนักงานวิ�งรวมกันให้ได้ระยะทาง 20,000 กิโลเมตร ผ้้บริหาร
จะมอบเงินให้ 40,000 บาท เพื�อนำาไปทำากิจกรรมบริจาคสาธารณกุศล หรือการจัดกิจกรรมไปพักผ่อน
ประจำาปี (Outing) ก็มีกิจกรรมชี่วยกันเก็บขยะที�ป่าชีายเลน เป็นต้น ซึ่ึ�งเป็นการออกแบบกิจกรรมหรือ
โครงการที�ให้ประโยชีน์ได้หลายทางในเวลาเดียวกัน
• ธ์รรมมาภิบาล (Good Governance)
ในมุมมองของพนักงานเห็นว่า ระบบการบริหารงานของบริษัท แสงไทยเมตัลดรัม จำากัด มีความ
โปร่งใสชีัดเจน มีระบบการประเมินงานที�ดี มีการสื�อสารกันเป็นประจำา ทั�งการประชีุมออนไลน์กับทีมบริหาร
สัปดาห์ละครั�ง การประชีุมประจำาเดือนของโรงงาน รวมถึึงการประชีุมในระดับหน่วยงานหรือแผนก เพื�อ
นำานโยบายหรือแนวทางการทำางานมาอธิบายชีี�แจงต่อ ทั�งนี�ในส่วนของแรงงานต่างด้าว ก็จะมีการประชีุม
ร่วมกันกับแรงงานไทย โดยมีล่ามชี่วยแปลภาษาให้
ผ้้บริหารส้งสุดขององค์กรคือ ดร.สินชีัย สิทธิเสถึียรชีัย มีนโยบายการบริหารงานแบบกระจายอำานาจ
ให้ทีมงานมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารมาก (Decentralization) โดยใชี้นโยบายของบริษัทฯ เป็นตัวกำากับ
มีการตั�งเป้าหมายการทำางานที�ท้าทายและสามารถึบรรลุได้ (Challenging, But Achievable) และเปิดโอกาส
ให้ทีมบริหารและพนักงานมีโอกาสได้คิด เสนอแนะความคิดเห็นใหม่ๆ ได้อย่างเต็มที� ทำาให้พนักงานส่วนใหญ่
เข้ามามีส่วนร่วมในการเติบโตพัฒนาได้มาก
มิติทางป้ัญ่ญ่า (Intellectual Well-Being)
บริษัท แสงไทยเมตัลดรัม จำากัด ให้ความสำาคัญกับมิติสุขภาวะทางปัญญาใน 2 ด้าน คือ สุขภาวะ
ทางการเงิน และการเรียนร้้และการพัฒนาบุคลากร
• สุขภาวะทางการเงิน (Financial Well-Being)
บริษัท แสงไทยเมตัลดรัม จำากัด มีการจ่ายค่าตอบแทน ค่าทำางานล่วงเวลา และจัดให้มีสวัสดิการ
ที�เหมาะสมให้กับพนักงานเชี่น เงินชี่วยเหลือค่าเชี่าบ้าน ค่าอาหาร โดยระดับของค่าตอบแทนโดยรวมอย้่
ในระดับที�ดีคือ ระดับกลางถึึงส้ง เมื�อเทียบกับโรงงานแห่งอื�นในนิคมอุตสาหกรรมเดียวกัน แต่พนักงาน
ส่วนใหญ่ก็ยังเลือกทำางานที�บริษัทฯ ต่อเนื�องเป็นระยะเวลาหลายสิบปี
ทั�งนี�ในแง่ความมั�นคงของการทำางาน บริษัทเปิดดำาเนินการมานานกว่า 30 ปี ผ่านวิกฤตเศรษฐกิจ
และการระบาดของโรคมาหลายครั�ง แต่ไม่เคยมีการปรับลดเงินเดือน หรือให้พนักงานออกจากงาน ตรงกัน
ข้ามบริษัทฯ ได้หางานปรับปรุงพัฒนาสถึานที�โรงงานหรือบริเวณรอบบริษัท ให้พนักงานทำาแทน ในชี่วงที�มี
คำาสั�งซึ่ื�อน้อย ทำาให้พนักงานเกิดความมั�นใจในการใชี้ชีีวิต เลี�ยงด้สมาชีิกในครอบครัวได้
วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 73
ลิขสิทธิ ์ © รศ.ดร.สุภรักษ์ สุริยันเกียรติแก้ว และคณะวิจัย College of Management Mahidol University