Page 173 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 173
ปฏิบัติตามกฎจราจรและกฎหมายของบ้านเมือง การปฏิบัติตามค�าแนะน�าของเจ้า
หน้าที่ และการเข้ารับการตรวจร่างกายเป็นประจ�าสม�่าเสมอเพื่อค้นหาความผิด
ปกติของร่างกายตั้งแต่ระยะแรก
2. โภชนาการ (Nutrition) อาหารเป็นปัจจัยหลักที่มีความส�าคัญ
กับการด�ารงชีวิต จ�าเป็นต้องรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการครบ 3 มื้อ
เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายทุกวันจะท�าให้ร่างกายเจริญเติบโตอย่าง
สมบูรณ์ และมีการพัฒนาอย่างเต็มที่ และที่ส�าคัญจะต้องรับประทานอาหาร
ที่ปรุงสุก สะอาด ปลอดภัยจากการปนเปื้อนของเชื้อโรค และสารเคมี จะท�าให้
ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยบ่อย ด�ารงชีวิตเป็นปกติ หรือท�าให้มีภาวะ
โภชนาการที่ดี ในทางตรงกันข้ามหากรับประทานอาหารไม่ได้สัดส่วนตาม
ความต้องการของร่างกายในแต่ละวัน จะท�าให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรค
ทางโภชนาการ ซึ่งถ้ารับประทานอาหารไม่ครบถ้วนเพียงพอจะก่อให้เกิดโรค
ขาดสารอาหาร ส่วนสูงจะไม่เต็มที่ การพัฒนาการจะช้ากว่าปกติโดยเฉพาะลักษณะ
ทางเพศ แต่ถ้ารับประทานอาหารมากเกินความต้องการก็จะท�าให้เกิดภาวะ
โภชนาการเกิน หรือโรคอ้วน ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่แข็งแรงและมีภาวะ
โภชนาการที่ดี กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2545) จึงก�าหนด
โภชนบัญญัติ 9 ประการ ได้กล่าวถึงอาหารเพื่อสุขภาพ ดังนี้
2.1 รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลายและ
หมั่นดูแลน�้าหนักตัว และพยายามรักษาน�้าหนักให้คงที่ โดยประเมินน�้าหนักตัวจาก
ค่าดัชนีมวลกาย (BMI หรือ Body Mass Index) ซึ่งค�านวณจากสูตร ดังนี้
ดัชนีมวลกาย = น�้าหนัก (กิโลกรัม) / ส่วนสูง (เมตร) ถ้าค่าดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง
2
18.5 – 24.9 ถือว่าน�้าหนักตัวอยู่ในเกณฑ์ปกติ ถ้าค่าดัชนีมวลกายน้อยกว่า 18.4
ถือว่า ผอม หรือน�้าหนักตัวต�่ากว่าเกณฑ์ ถ้าค่าดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง 25 – 29.9
ถือว่าน�้าหนักเกิน ค่าดัชนีมวลกายมีค่าตั้งแต่ 30 ขึ้นไป ถือว่าเป็นโรคอ้วน
ควรรับประทานอาหารเช้า และเที่ยงเป็นหลัก ส่วนอาหารเย็นควรเป็นอาหารเบาๆ
และไม่ควรรับประทานอาหารระหว่างมื้อ เพื่อให้กระเพาะอาหารและล�าไส้ได้พักผ่อน
2.2 การรับประทานข้าวเป็นอาหารหลัก และควรรับประทาน
ข้าวกล้องหรือข้าวซ้อมมือแทนข้าวขาว เพราะมีวิตามินอีและเส้นใยมากช่วยป้องกัน
172 พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research