Page 58 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 1 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 58
จุดบกพร่องและช่องว่างในการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน เพื่อน าไปสู่การปรับปรุงแผนการป้องกัน และบรรเทา
สาธารณภัย
2.3) การเตรียมการอพยพ ให้กองอ านวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแต่ละระดับ
จัดท าแผนอพยพ ซึ่งอย่างน้อยมีสาระส าคัญประกอบด้วย บัญชีจ านวนผู้อพยพ บัญชีส่วนราชการ สิ่งอ านวย
ความสะดวกในการอพยพ การก าหนดเขตพื้นที่รองรับการอพยพให้อยู่ในพื้นที่ที่เหมาะสม การก าหนด
เจ้าหน้าที่หรือผู้รับผิดชอบการอพยพไว้ให้ชัดเจน การก าหนดเส้นทางอพยพหลักและเส้นทางส ารองส าหรับแต่
ละประเภทภัย รวมทั้งการส ารวจและจัดเตรียมพาหนะ น้ ามันเชื้อเพลิง และระบบสื่อสารส าหรับการอพยพ
2.4) การเตรียมการจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว รัฐต้องมีการเตรียมแผนรับมือต่อจากการอพยพ
ในภาวะฉุกเฉิน ก าหนดอาคารที่จะใช้เป็นศูนย์พักพิงชั่วคราวและวางแผนในการบริหารจัดการ
2.5) การจัดองค์กรการเรียนรู้สาธารณภัย ได้แก่ ศูนย์การเรียนรู้สาธารณภัย และสถาบัน
พัฒนาการจัดการสาธารณภัยแห่งชาติ
2.6) การพัฒนาคลังข้อมูลสาธารณภัยแห่งชาติ
2.7) การจัดตั้งคลังส ารอง
2.8) แผนการบริหารความต่อเนื่อง
3) แนวทางปฏิบัติของระบบการเตือนภัย เป็นโครงสร้างและระบบสื่อสารที่ช่วยให้มีข้อมูลสาธารณภัย
และส่งข้อมูลที่ถูกต้องรวดเร็วไปหน่วยงาน และประชาชน (วรรณเพ็ญ อินทร์แก้ว และสมจินดา ชมพูนุท, 2557)
ดังนี้
3.1) ระดับของระบบการเตือนภัย มีความหมายของสีในการเตือนภัย ดังนี้
สีแดง หมายถึง สถานการณ์อันตรายสูงสุดให้อยู่ในสถานที่ปลอดภัยและปฏิบัติตามข้อสั่งการ
สีส้ม หมายถึง สถานการณ์เสี่ยงอันตรายสูง เจ้าหน้าที่ก าลังควบคุมสถานการณ์ให้อพยพ
ไปยังสถานที่ปลอดภัย และปฏิบัติตามแนวทางที่ก าหนด
สีเหลือง หมายถึง สถานการณ์เสี่ยงอันตราย มีแนวโน้มที่สถานการณ์จะรุนแรงมากขึ้นให้
จัดเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ และปฏิบัติตามค าแนะน า
สีน้ าเงิน หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะเฝ้าระวัง ให้ติดตามข้อมูลอย่างใกล้ชิดทุก 24 ชั่วโมง
สีเขียว หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะปกติ ให้ติดตามข้อมูลข่าวสารเป็นประจ า
3.2) กระบวนการแจ้งเตือนภัย ประกอบด้วย
3.2.1) การเฝ้าระวัง ติดตามสถานการณ์ เป็นการติดตามข้อมูลความเคลื่อนไหวของ
เหตุการณ์ที่อาจส่งผล ให้เกิดสาธารณภัย รวมทั้งท าหน้าที่เฝ้าระวัง ให้ข้อมูลและข่าวสารแก่ประชาชน
3.2.2) การแจ้งเตือนล่วงหน้าเป็นการแจ้งข้อมูลข่าวสารที่บ่งชี้ว่ามีแนวโน้มที่จะเกิด
สาธารณภัยขึ้นในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงภัยไปยังส่วนราชการ หน่วยงาน กองอ านวยการป้องกันและบรรเทาสา
ธารณภัยแต่ละระดับและประชาชนเพื่อให้ติดตามข้อมูลข่าวสารความเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ระยะเวลา
การแจ้งเตือนล่วงหน้าขึ้นกับสาธารณภัยแต่ละประเภท โดยปกติควรแจ้งเตือนล่วงหน้าก่อนเกิดสาธารณภัยไม่
ต่ ากว่า 120 ชั่วโมง
3.2.3) การแจ้งเตือนภัย เป็นการยืนยันข้อมูลว่ามีโอกาสเกิดสาธารณภัยมากกว่าร้อย
ละ 60 และเป็นการแจ้งแนวทางปฏิบัติให้กับส่วนราชการ หน่วยงาน กองอ านวยการป้องกันและบรรเทา
58