Page 9 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 1 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 9
ตารางที่ 1 การประเมินความรุนแรงของสาธารณภัยด้วย FEMA Model (ต่อ)
องค์ประกอบ ข้อมูลในการพิจารณาประเมิน ระดับการประเมิน
2. ความเปราะบาง/ระดับการเกิด ประชาชนที่ได้รับอันตรายหรือทรัพย์สินที่
อันตราย
ประชาชนหรือทรัพย์สิน เสียหาย/สูญหาย
1 % ต่ า
1 – 10 % ปานกลาง
>10 % สูง
3. ภาวะคุกคาม ผลกระทบที่เกิดต่อพื้นที่/ชุมชน
5 % ต่ า
5 – 25 % ปานกลาง
> 25 % สูง
4. โอกาสที่จะเกิด/ความน่าจะเป็น โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ในรอบ 1 ปี
< 1 ใน 1000 ต่ า
1 ใน 1000 ถึง 1 ใน 10 ปานกลาง
> 1 ใน 10 สูง
ที่มา : World Health Organization, 1999
วิธีการค านวณเพื่อประเมินความรุนแรงของสาธารณภัยท าได้โดยการประเมินค่าคะแนนของแต่ละ
องค์ประกอบแล้วน าไปคูณกับน้ าหนักของแต่ละองค์ประกอบแล้วรวมคะแนน ถ้าคะแนนรวมเท่ากับหรือ
มากกว่า 100 คะแนน แสดงว่า สาธารณภัยนั้นมีความรุนแรงในระดับสูงหรือมีความเร่งด่วนในการให้ความ
ช่วยเหลือ ถ้าคะแนนรวมต่ ากว่า 100 คะแนน แสดงว่า สาธารณภัยนั้นมีความรุนแรงในระดับต่ าลดลั่นลงมา
ตามล าดับ ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 การประเมินความรุนแรงของอุทกภัย
องค์ประกอบ ระดับผลการประเมิน ค่าคะแนน X น้ าหนัก ผลรวม
ประวัติ/ข้อมูลในอดีต สูง 10 X 2 20
ความเปราะบาง/ระดับการเกิดอันตราย ปานกลาง 5 X 5 25
ภาวะคุกคาม สูง 10 X 10 100
โอกาสที่จะเกิด/ความน่าจะเป็น ปานกลาง 5 X 7 35
รวม 180
สรุปผลคะแนนรวมมากกว่า 100 คะแนน แสดงว่าอุทกภัยมีความรุนแรงในระดับสูง มีความ
เร่งด่วนในการให้ความช่วยเหลือ
9