Page 53 - คู่มือการดำเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
P. 53

๑๕. ข้อใดเป็นประเด็นส�ำคัญของข้อควำมต่อไปนี้ (O-NET ม.๖)
                     หลักส�ำคัญของแผนน�้ำประปำปลอดภัย เริ่มตั้งแต่กำรดูแลรักษำแหล่งน�้ำดิบตั้งแต่ต้นทำง เมื่อน�้ำดิบ
            เข้ำสู่โรงงำนผลิตน�้ำประปำจะต้องคุมจุดเสี่ยงทั้งระบบผลิต ระบบสูบส่งและสูบจ่ำยทำงท่อเพื่อดูแลรักษำ
            คุณภำพน�้ำอย่ำงต่อเนื่อง รวมไปถึงกำรควบคุมกำรวำงท่อ กำรซ่อมท่อ กำรเปลี่ยนท่อเก่ำที่หมดอำยุ
            เพื่อควำมสะอำดของน�้ำจนไปถึงบ้ำนเรือนประชำชน

                     ๑) กำรควบคุมคุณภำพน�้ำประปำ               ๒) กระบวนกำรผลิตน�้ำประปำ
                     ๓) กำรตรวจสอบแหล่งน�้ำดิบ                 ๔) มำตรฐำนกำรดูแลอุปกรณ์
                     ๕) กำรจ่ำยน�้ำประปำสู่ชุมชน

            ๑๖. ข้อใดสรุปควำมได้ถูกต้อง (O-NET ม.๖)
                     น�้ำนมข้ำวอุดมด้วยวิตำมินและสำรอำหำรที่เป็นประโยชน์ต่อร่ำงกำย เป็นทำงเลือกส�ำหรับผู้บริโภค
            ที่แพ้นมวัวและนมจำกพืชตระกูลถั่ว กำรส่งเสริมให้มีกำรผลิตน�้ำนมข้ำวในประเทศโดยควำมร่วมมือระหว่ำง
            เกษตรกร ผู้ประกอบกำร ไม่เพียงแต่ช่วยให้เกษตรกรได้รับเงินเพิ่มขึ้น แต่ยังช่วยให้คนไทยได้บริโภคน�้ำนมข้ำว

            ที่เป็นผลผลิตของคนไทยในรำคำที่เหมำะสม เนื่องจำกปัจจุบันน�้ำนมข้ำวที่วำงจ�ำหน่ำยส่วนใหญ่เป็นผลิตภัณฑ์
            ที่น�ำเข้ำจำกต่ำงประเทศ จึงมีรำคำสูง
                     ๑) น�้ำนมข้ำวถึงแม้มีประโยชน์แต่มีรำคำสูงเพรำะเป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องน�ำเข้ำจำกต่ำงประเทศ
                     ๒) น�้ำนมข้ำวมีสำรอำหำรที่เป็นประโยชน์ต่อร่ำงกำย ผู้ที่แพ้นมวัวหรือนมจำกพืชตระกูลถั่วสำมำรถ
            บริโภคได้
                     ๓) คนไทยควรบริโภคน�้ำนมข้ำวเป็นประจ�ำเพื่อสุขภำพที่แข็งแรง กำรร่วมมือกันผลิตภำยในประเทศ
            จึงเป็นเรื่องจ�ำเป็น

                     ๔) กำรส่งเสริมกำรผลิตน�้ำนมข้ำวในประเทศจะท�ำให้คนไทยได้บริโภคในรำคำถูกลงและเพิ่มรำยได้
            แก่เกษตรกร
                     ๕) กำรผลิตน�้ำนมข้ำวช่วยให้เกษตรกรมีรำยได้ดีและส่งเสริมให้คนไทยตระหนักถึงควำมส�ำคัญ
            ของกำรรักษำสุขภำพ



                     ๒.๕ สังเกตค�าหรือกลุ่มค�าแสดงความขัดแย้งหรือตรงข้ามกันที่ปรากฏในย่อหน้า
                          ปกติแล้วข้อควำมหรือประโยคแต่ละประโยคที่เรียงต่อกันในย่อหน้ำนั้นจะมีเนื้อหำเกี่ยวโยง
            ต่อเนื่องสัมพันธ์กัน  กำรล�ำดับควำมคิดและกำรเชื่อมโยงควำมคิดเป็นไปอย่ำงมีระเบียบ  ชัดเจน

            “ประดุจน�ำมะลิแต่ละดอกมำร้อยเป็นวงรอบจนเป็นพวงมำลัยที่เป็นระเบียบสวยงำม ท�ำให้ผู้อ่ำนสำมำรถติดตำม
            เนื้อเรื่องได้ง่ำยไม่สับสนวกวน อ่ำนแล้วได้เนื้อควำมที่สมบูรณ์แจ่มแจ้ง”
                                                                        (รำตรี ธันวำรชร, ๒๕๔๒, น.๘๒)
                          วิธีหนึ่งที่ท�ำให้ย่อหน้ำเกิดกำรเชื่อมโยง คือ กำรใช้ค�ำหรือกลุ่มค�ำเป็นเครื่องเชื่อมควำม ค�ำ
            หรือกลุ่มค�ำที่เป็นเครื่องเชื่อมในย่อหน้ำนั้นมีหลำยลักษณะ แต่มีค�ำหรือกลุ่มค�ำลักษณะหนึ่งที่ช่วยให้จับใจควำมส�ำคัญ
            ได้ง่ำยขึ้น คือ ค�ำหรือกลุ่มค�ำแสดงควำมขัดแย้งหรือตรงข้ำมกัน เช่น แต่ ทว่ำ แต่หำก แต่ว่ำ แต่ทว่ำ อย่ำงไรก็ดี
            ในทำงตรงข้ำม ในทำงกลับกัน ถึงแม้...แต่ ฯลฯ เพรำะใจควำมส�ำคัญที่ผู้เขียนต้องกำรสื่อในย่อหน้ำนั้น
            อำจอยู่หลังค�ำหรือกลุ่มค�ำดังกล่ำว




                                                                  คู่มือการดำาเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำาเร็จ
                                             ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕  47
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58