Page 55 - คู่มือการดำเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
P. 55

๑๙. ข้อใดเป็นประเด็นส�ำคัญของข้อควำมต่อไปนี้ (O-NET ม.๖)
                     ฝำยชะลอน�้ำแม้จะไม่ใช่สิ่งก่อสร้ำงที่จะน�ำไปใช้แก้ปัญหำน�้ำท่วมในเมืองหรือน�้ำท่วมในปริมำณ
            มหำศำล แต่ก็จะช่วยชะลอน�้ำไม่ให้ไหลเร็วเกินไปเพื่อป้องกันน�้ำท่วมพื้นที่ปลำยน�้ำ ฝำยจะช่วยเก็บกักน�้ำ

            ให้พื้นที่มีควำมชุ่มชื้นได้นำน เป็นแหล่งส�ำรองน�้ำในหน้ำแล้งได้ด้วย กำรสร้ำงมิได้ซับซ้อนยุ่งยำก ชำวบ้ำนก็ช่วยกันสร้ำงได้
            อีกทั้งไม่ต้องตัดต้นไม้ในพื้นที่ที่จะสร้ำง
                     ๑) วิธีใช้ฝำยแก้ปัญหำน�้ำท่วม         ๒) ประโยชน์ของฝำยชะลอน�้ำ

                     ๓) กำรแก้ปัญหำน�้ำท่วมและภัยแล้ง      ๔) ฝำยชะลอน�้ำกับกำรอนุรักษ์ธรรมชำติ
                     ๕) ควำมร่วมมือในกำรแก้ปัญหำของชุมชน

            ๒๐. ข้อใดเป็นประเด็นส�ำคัญของข้อควำมต่อไปนี้ (O-NET ม.๖)
                     ไขมันทรำนส์เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวซึ่งได้รับควำมนิยมมำกในอุตสำหกรรมกำรผลิตอำหำร

            ส่วนมำกไขมันทรำนส์เกิดจำกกำรปรุงแต่งของมนุษย์ โดยกระบวนกำรเติมไฮโดรเจนลงในกรดไขมันไม่อิ่มตัว เช่น
            น�้ำมันพืช เพื่อเปลี่ยนสภำพของน�้ำมันให้แข็งขึ้น ท�ำให้เก็บได้นำน ไม่มีกลิ่นหืน อย่ำงไรก็ตำมกำรบริโภคไขมันทรำนส์
            ส่งผลเสียต่อสุขภำพ เสี่ยงต่อกำรเกิดโรคหัวใจควำมดันโลหิตสูงและเบำหวำน องค์กำรอนำมัยโลกประกำศรณรงค์
            ให้ทั่วโลกยุติกำรใช้ไขมันทรำนส์ภำยในปี ค.ศ. ๒๐๒๓ หำกยุติได้จะช่วยชีวิตคนได้ถึง ๑๐ ล้ำนคน

                     ๑) อันตรำยของไขมันทรำนส์              ๒) ปัจจัยเสี่ยงกำรเกิดโรคหัวใจ
                     ๓) กำรผลิตอำหำรด้วยไขมันทรำนส์        ๔) กำรรณรงค์ขององค์กำรอนำมัยโลก
                     ๕) กำรลดอัตรำกำรเสียชีวิตของผู้บริโภค



                     ๒.๖ หากย่อหน้านั้นไม่ปรากฏประโยคใจความส�าคัญ ต้องพิจารณาเนื้อความในบริบทอื่น ๆ

            โดยเฉพาะข้อความในย่อหน้าก่อนและหลัง โดยน�ำใจควำมส�ำคัญหรือควำมคิดหลักที่กระจำยอยู่ในย่อหน้ำนั้น
            น�ำมำประมวลและเรียบเรียงให้เป็นประโยคใจควำมส�ำคัญด้วยส�ำนวนภำษำของตนเอง
                     ตัวอย่าง
                     พืชที่คนไทยน�ำรำกมำใช้ย้อมผ้ำ เช่น ขมิ้น ข่ำ และยอป่ำ พืชที่คนไทยน�ำล�ำต้นมำใช้ย้อมผ้ำ
            ได้แก่ มะพูด หำกใช้เฉพำะส่วนเปลือกนั้นมีหลำยชนิด เช่น กรำย ฉ�ำฉำ กระหูด โกงกำง ปอแดง และประดู่
            ส่วนพืชที่เรำน�ำแก่นของเนื้อไม้มำใช้ย้อมผ้ำ คือ ขนุน ขี้เหล็ก และเข พืชที่เรำน�ำผลของมันมำใช้ในกำรย้อมผ้ำ
            คือ กระจำย หว้ำ มะเกลือ และตะโก เมล็ดจำกผลก็สำมำรถน�ำมำใช้ย้อมผ้ำได้ด้วย เช่น ค�ำแสด พืชที่เรำน�ำดอก

            มำใช้ในกำรย้อมผ้ำ คือ อัญชัน และค�ำฝอย พืชที่ใบให้สีในกำรย้อมผ้ำ ได้แก่ หูกวำง และครำม ซึ่งครำมนั้น
            นอกจำกจะใช้ใบจำกต้นครำมย้อมผ้ำได้แล้ว เรำยังสำมำรถใช้กิ่งของมันในกำรย้อมผ้ำได้ด้วย
                                                        (ปรับจำก ดำวรัตน์ ชูทรัพย์, ๒๕๔๗, น.๑๗๔ - ๑๗๕)
                     จำกตัวอย่ำงข้ำงต้น เมื่ออ่ำนย่อหน้ำจบแล้ว สิ่งที่ต้องพิจำรณำในกำรจับใจควำมส�ำคัญ คือ
                     (๑) ย่อหน้ำนี้กล่ำวถึงเรื่องอะไร
                     ค�ำตอบ คือ เรื่องเกี่ยวกับกำรใช้ส่วนต่ำง ๆ ของพืชมำย้อมผ้ำของคนไทย
                     (๒) พิจำรณำหำค�ำส�ำคัญของย่อหน้ำนี้
                     ค�ำส�ำคัญลักษณะที่ ๑ ที่ปรำกฏซ�้ำ ๆ ตั้งแต่ต้นจนจบในย่อหน้ำคือ ค�ำว่ำ “พืช” “คนไทย”

            ซึ่งในบำงประโยคจะใช้ค�ำว่ำ “เรำ” แทนค�ำว่ำ “คนไทย” และ “ย้อมผ้ำ”

                                                                  คู่มือการดำาเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำาเร็จ
                                             ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕  49
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60