Page 11 - คู่มือการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ตามกรอบการดําเนินงานความปลอดภัยรอบด้านในสถานศึกษาในประเด็นด้านสิทธิเด็กและการรู้รับปรับตัวในภาคการศึกษา
P. 11

เสาหลักที 3:                                    ประเด็นทับซ้อนของเสาหลักที 1

               การศึกษาเพือการลดความเสียงและการรู้รับปรับตัว   และเสาหลักที 2
               ต่อภัยพิบัติ
                                                               รักษา

               ดําเนินการ                                      และปรับปรุงระบบโครงสร้าง และระบบที่ไม่ใช้โครงสร้าง
               ทบทวนหลักสูตรเพื่อนําความรู้และทักษะในเรื่องต่าง ๆ   ระบบความปลอดภัยจากอัคคีภัย และระบบการสื่อสาร
               ต่อไปนี้ บรรจุเข้าไปในเนื้อหาหลักสูตร ได้แก่เรื่องความ   เพื่อความปลอดภัยและความต่อเนื่องทางการศึกษา

               เสมอภาคระหว่างเพศ สิทธิเด็ก การระบุและการลด
                                                               รักษา
               ความเสี่ยงจากภัยพิบัติ ความปลอดภัย สุขภาวะอนามัย   และปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกและคู่มือแนะนําแนว

               การบรรเทาและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ     ทางที่เกี่ยวข้องกับน้ำ สุขาภิบาล และสุขอนามัยที่คํานึง
               ภูมิอากาศ ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม การเรียนรู้ทางสังคม  ถึงเพศภาวะ

               และอารมณ์ การป้องกันความรุนแรง การเรียนการสอน
               ด้านสันติศึกษา และการคิดวิเคราะห์
                                                               ประเด็นทับซ้อนของเสาหลักที 2

               ใช้                                             และเสาหลักที 3
               แนวทางการเรียนรู้ที่ไม่เป็นทางการ  เช่น  ชุมนุม  ชมรม
                                                               ฝึกซ้อม
               กลุ่มเยาวชน  กิจกรรมกีฬาและชุมชนเพื่อดึงดูดเด็ก   รับมือภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ
               เยาวชน  และเจ้าหน้าที่เข้าสู่กิจกรรมของสถานศึกษา

               และชุมชน รวมถึงมีกระบวนการตัดสินใจเพื่อระบุปัญหา   วางแผน
               และลดความเสี่ยง  และมีการพัฒนาศักยภาพในการ      และดำเนินการตามขั้นตอนเพื่อป้องกันการแยกจาก

               รับมือกับสถานการณ์  ควบคู่กับการสร้างการมีส่วนร่วม   ครอบครัวและนําไปสู่การกลับคืนสู่ครอบครัวอย่าง
               และภาวะผู้นําของพลเมือง                         ปลอดภัย

                                                               ส่งเสริม
               สร้างการมีส่วนร่วม
               จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เช่น ด้านจัดการความเสี่ยงจาก   ความปลอดภัยในครัวเรือนและการวางแผนการปรับตัว
                                                               ต่อภัยพิบัติ
               ภัยพิบัติ  ด้านสภาพภูมิอากาศ / สิ่งแวดล้อม การคุ้มครองเด็ก
               และอื่น ๆ ให้เข้ามามีบทบาทในฐานะวิทยากรหรือผู้นํา   สอน

               กระบวนการในประเด็นนั้น รวมทั้งจัดทัศนศึกษา และ   วิธีการป้องกันและการตอบโต้ความรุนแรงที่ถูกต้อง
               กิจกรรม การเรียนรู้อื่นๆ ให้นักเรียน

                                                               ประเด็นทับซ้อนของเสาหลักที 1
                                                               และเสาหลักที 3

                                                               มาตรการ โรงเรียนสีเขียว












                                                                                                                 06
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16