Page 10 - คู่มือการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ตามกรอบการดําเนินงานความปลอดภัยรอบด้านในสถานศึกษาในประเด็นด้านสิทธิเด็กและการรู้รับปรับตัวในภาคการศึกษา
P. 10

้
               ความสอดคล้องของเนือหาคู่มือการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วน
               ร่วมกับกรอบการดําเนินงานความปลอดภัยรอบด้านในสถานศึกษา


                                                                                  ่
                                       ้
                                                                       ้ ่
               ยุทธศาสตร์หลักการพืนฐาน: ระบบและนโยบายทีเอืออํานวยสือสาร มีส่วนร่วม
               สนับสนุนเจ้าหน้าที่ นักเรียน พ่อแม่ และผู้ปกครอง ตลอดจนชุมชนท้องถิ่นในกระบวนการวางแผนและการตัดสินใจ
               แบบมีส่วนร่วม (รวมถึงการติดตามและประเมินผล และกลไกการรายงานที่ประสานกัน) ที่ให้เด็กเป็นศูนย์กลาง
               และคํานึงถึงเพศสภาวะต่าง ๆ




               เสาหลักที 1:                                    เสาหลักที 2:

                         ้
               โครงสร้างพืนฐานและสิงอํานวยความสะดวกทาง         การบริหารจัดการความปลอดภัยของสถานศึกษา
               การศึกษาทีปลอดภัยยิงขึน ้                       และความต่อเนืองทางการศึกษา

               คํานึงถึงความปลอดภัย                            ดําเนิน
               เป็นส่วนสําคัญของการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานทั้งหมด  โครงการพัฒนาศักยภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษา

               ของโรงเรียน  เพิ่มประสิทธิผลการลงทุนให้สูงขึ้นด้วยวิธี   โดยจะต้องพัฒนาทักษะความเป็นผู้นําเพื่อความปลอดภัย
               การบรรเทาผลกระทบที่ปรับให้เหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ   ในสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วมและทักษะการบริหารจัด
               ซึ่งจะก่อให้เกิดผลประโยชน์หลายประการ เช่น การลด   การความต่อเนื่องทางการศึกษา

               ความเสี่ยงความต่อเนื่องของการศึกษา  การคุ้มครอง
                                                               ให้คําแนะนํา
               สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ครอบคลุมคนทุกกลุ่ม     มาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOPs) ในการเตรียมความพร้อม

               ปรับปรุงคุณภาพของสิ่งอํานวยความสะดวกทางการ      สำหรับการเผชิญเหตุต่อภัยพิบัติและสถานการณ์ฉุกเฉิน
               เรียนรู้ บรรเทาผลกระทบและปรับให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง  ในสถานศึกษา  รวมถึงการฝึกซ้อมเตรียมการรับมือ
               สภาพภูมิอากาศ  (เช่น  ลดการสร้างปริมาณการปล่อย   ตามข้อกำหนด  และดำเนินการเพื่อตอบสนองต่อการ

               และ  ดูดกลับก๊าซเรือนกระจก  (carbon  footprint)   เตือนภัยล่วงหน้า
               รวมถึงลดการใช้ทรัพยากรที่ไม่สามารถหมุนเวียนได้)
                                                               พัฒนา
               ปรับใช้                                         แนวทางการดำเนินงานที่เป็นมิตรกับผู้ปฏิบัติงาน
               การออกแบบและวิธีแก้ปัญหาของสถานศึกษาต้นแบบกับ   เพื่อดำเนินโครงการตามมาตรฐานการลดความเสี่ยง
               สิ่งอํานวยความสะดวกที่มีอยู่เดิมและใหม่ของสถานศึกษา   ของสถานศึกษาทั้งกับสิ่งก่อสร้างที่เป็นโครงสร้าง
               ในด้านความปลอดภัย การมีสุขภาวะที่ดี การไม่แบ่งแยก   และที่ไม่ใช่โครงสร้าง  สาธารณูปโภค  สิ่งแวดล้อม

               การคํานึงถึงเพศภาวะ ความยั่งยืนและเอื้อต่อการเรียนรู้
                                                               และมาตรการทางสังคมที่สามารถนําใช้กับชุมชน

               เปิดโอกาส                                       สถานศึกษาได้
               ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการประเมินเพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อม
                                                               หาแนวทาง
               และสังคม  ทั้งยังมีการกําหนดและดำเนินมาตรการ    บูรณาการการบริหารจัดการความปลอดภัยในสถานศึกษา
               ที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืนเพื่อปรับปรุงความปลอดภัย  ให้เข้ากับการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น  การจัดการความเสี่ยง
               และคุณภาพของสิ่งอํานวยความสะดวกในการเรียน       จากภัยพิบัติ  การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ

               ปกป้องการลงทุนในภาคการศึกษา  ตลอดจนส่งเสริม     ภูมิอากาศ และแผนการคุ้มครองเด็ก
               ความปลอดภัย และการปรับตัว





      05
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15