Page 124 - รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำปี 2563
P. 124
การลงทุนในทรัพยากรบุคคล 103-1, 103-2
ธนาคารมีการจัดทำาแผนการพัฒนาบุคลากรระยะยาวที่มีการทบทวน
เป็นประจำาทุกปี และมีแผนงาน/โครงการพัฒนาบุคลากรและงบประมาณ
ประจำาปีที่มีความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ แผนบริหาร
ทรัพยากรบุคคลที่สำาคัญ และตัวชี้วัดที่สำาคัญที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
เชิงยุทธศาสตร์ และธนาคารได้ส่งเสริมให้ทุกหน่วยงานและพนักงานทุกระดับ
มีโอกาสได้รับการพัฒนา (Up / Re Skill) ตาม Functional Competency
มาตรฐานความรู้และทักษะที่จำาเป็นตามกลุ่มลักษณะงาน (Sub job Family) กระบวนการพัฒนาบุคลากรและผู้นำาระดับสูง
และตามผลการประเมินช่องว่างสมรรถนะ (Competency Gap) รวมถึง
ทักษะที่สำาคัญ ได้แก่ การปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานกำากับภายนอกกำาหนด 1 ประเมินความจำาเป็นในการพัฒนา
การปฏิบัติงานอย่างมีจริยธรรม ส่งเสริมความคิด/นวัตกรรม การพัฒนา 2 วางแผนพัฒนา
พนักงานใหม่ การลดข้อผิดพลาดจากการปฏิบัติงาน โดยมีการจัดทำาแผน
พัฒนาบุคลากรเพิ่มขีดความสามารถในธุรกิจหลักและสร้างรายได้ รองรับ 3 ตรวจสอบแผนพัฒนา
ยุทธศาสตร์และพัฒนาขีดความสามารถในทักษะใหม่ผ่านหลักสูตรต่าง ๆ 4 เสนอคณะกรรมการโครงการพัฒนาบุคลากร
ตามแผนพัฒนาบุคลากรด้านสินเชื่อ (Master Credit Skills Blueprint)
ด้านการขายและการเป็นที่ปรึกษา (Sales & Advisory Skills Blueprint) และ 5 ดำาเนินการตามแผน
ด้าน Digital & Data Analytic (Digital & Data Analytic Skills Blueprint) 6 ประเมินและวัดผล
นอกจากนั้นธนาคารได้แต่งตั้งคณะกรรมการโครงการพัฒนาบุคลากร
โดยมีผู้อำานวยการธนาคารออมสิน เป็นประธาน ทำาหน้าที่พิจารณาแผนการ
พัฒนาบุคลากรดังกล่าว ให้เป็นไปตามแผนงาน เป้าหมาย และทิศทาง
ตามที่ธนาคารกำาหนดอีกด้วย
120 ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อสังคม